ดาวเนปจูน | ดินแดนสุดขอบระบบสุริยะ

Описание к видео ดาวเนปจูน | ดินแดนสุดขอบระบบสุริยะ

ในระยะที่ห่างจากดวงอาทิตย์ 4,500 ล้านกิโลเมตร ดาวเคราะห์ดวงสุดท้ายของระบบสุริยะได้ตั้งตระหง่านอยู่ ดาวดวงนั้นมีชื่อว่าเนปจูน ที่ตั้งชื่อตามเทพแห่งท้องทะเลตามปกรณัมกรีก-โรมัน เนื่องจากรูปลักษณ์สีฟ้าสวยงามของมัน ซึ่งเกิดจากแก๊สมีเทนที่อยู่ในชั้นบรรยากาศ ดาวเนปจูนถือเป็น 1 ใน 4 ของดาวเคราะห์แก๊สที่ตั้งอยู่ในระบบสุริยะชั้นนอก ซึ่งมีเส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่กว่าโลกถึง 4 เท่า และมีดวงจันทร์บริวารทั้งหมด 14 ดวงด้วยกัน

ดาวเนปจูนคือดาวเคราะห์ดวงสุดท้ายที่ได้รับการค้นพบโดยนักดาราศาสตร์ชาวฝรั่งเศสเมื่อปี 1846 โดยใช้วิธีการคำนวณทางคณิตศาสตร์จากการสังเกตการโคจรที่ผิดแปลกของดาวยูเรนัส ในขณะที่ตลอดประวัติศาสตร์ของมนุษย์ที่ผ่านมามียานอวกาศเพียงดวงเดียวนั้นที่ได้ไปสำรวจดาวเนปจูน ซึ่งก็คือยานวอยเอเจอร์ 2 ที่ปล่อยตัวไปในปี ค.ศ .1977 และได้เผยเรื่องราวของดาวเคราะห์สีน้ำเงินดวงนี้ออกมามากมาย ที่เราจะมารู้จักดาวเนปจูนให้มากขึ้นในคลิปวีดีโอนี้กัน

ศึกษาเรื่องราวของดาวเนปจูนผ่านบทความภาษาไทย เพิ่มเติมที่

ใครพบดาวเนปจูนเป็นคนแรก
https://spaceth.co/discovery-of-neptune/
Hubble พบว่าพายุบนดาวเนปจูนอยู่ ๆ ก็ยูเทิร์นกลับบ้านเก่าที่ซีกเหนือของดาว
https://spaceth.co/neptune-darkspot-a...
ยานวอยาเจอร์ สองฝาแฝดนักท่องจักรวาล
https://spaceth.co/voyager/

เพลงประกอบตามลำดับ

Astral Roar - Lama House
Midnight Confessions
I am with you - Dream Cave
Observation from far away place - Rannar Sillard
A sight to be hold - Trailer Worx
Deeper than the ocean - Bonnie Grace
Winds of winter - Jo Wandrini
Returning memories - Erasmus Talbot

สารบัญ

0:00 Intro
1:14 ประวัติฯการค้นพบดาวเนปจูน
1:53 การเดินทางของวอยเอเจอร์ 2
2:39 ข้อมูลเบื้องต้นจากวอยเอเจอร์
3:41 ชั้นบรรยาศของดาวเนปจูน
4:40 สาหตุของพายุที่แปรปรวน
6:04 การสำรวจวงแหวน
7:02 ดวงจันทร์ของดาวเนปจูน
9:05 การอพยพของดาวเนปจูน
10:18 การระดมชนครั้งใหญ่
12:17 บทส่งท้าย

Website - https://spaceth.co/
Blockdit - https://blockdit.com/spaceth
YouTube -    / spacethco  
Facebook -   / spaceth  
Twitter -   / spacethnews  
IG -   / spaceth.co  

#Say #Sake #Sail #Seat #Spaceth
#ดาวเนปจูน #เนปจูน #ไทรทัน #ระบบสุริยะ #อวกาศ #นาซ่า #จักรวาล #เอกภพ #ดาราศาสตร์ #นอกโลก #วิทยาศาสตร์ #วอยเอจอร์ #NASA

Комментарии

Информация по комментариям в разработке