นาฏยนิพนธ์เชิงสร้างสรรค์ชุด บายศรีปู่จาขวัญ

Описание к видео นาฏยนิพนธ์เชิงสร้างสรรค์ชุด บายศรีปู่จาขวัญ

นาฏยนิพนธ์เชิงสร้างสรรค์ ชุด บายศรีปู่จาขวัญ

โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 3 หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ประจำปีการศึกษา 2566 (การละเมิดลิขสิทธิ์ เผยแพร่ ท่ารำ เพลง ดัดแปลง ทำซ้ำ โดยผู้เป็นเจ้าของผลงานไม่อนุญาตหรือไม่ได้รับทราบถือว่ามีความผิดทางกฎหมายและสามารถถูกดำเนินคดี)

นาฏยนิพนธ์เชิงสร้างสรรค์ ชุด บายศรีปู่จาขวัญ หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
คณะผู้วิจัย
1.นางสาวกุลรัตน์ ขันเมือง
2. นางสาวจุฑาทิพย์ วงค์คํา
3. นางสาวตะวัน กันธิมา
4. นางสาวทักษะพร มะโนริน
5. นางสาวพิมพ์ ลุงที
6. นางสาวภิญญาพัชญ์ แซ่ย่าง
7. นายมาลายน สมนะ
8. นางสาวรัตนาพรรณ ทองคำ
9. นางสาวรัตนาภรณ์ ทองคำ

การฮ้องขวัญ เรียกขวัญในภาคเหนืออันมีเครื่องประกอบพิธีที่สำคัญได้แก่ บายศรี และเป็นพิธีกรรมอันสำคัญในทางภาคเหนือ และกล่าวถึงพิธีกรรมในการแสดง ความศรัทธาในพิธีกรรมบายศรี จนเป็นที่มาในการแสดงนาฏยนิพนธ์เชิงสร้างสรรค์ชุด บายศรีปู่จาขวัญ ซึ่งการแสดงชุดนี้แบ่งเป็น 3 ช่วงการแสดง
ช่วงที่ 1 เกริ่นก้อง
การแสดงสื่อถึงเกริ่นกะโลง เล่าถึงบายศรีล้านนา
ช่วงที่ 2 ฮ้องฮับ
การแสดงสื่อถึง การเรียกขวัญให้มาอยู่กับเนื้อกับตัว
ช่วงที่ 3 สดับภิรมย์
การแสดงสื่อถึงหลังจากเสร็จพิธีบายศรีสูู่ขวัญ มีการอวยพรให้ เกิดความเป็นมงคลและมีการฟ้อนรําเพื่อแสดงถึงความปิติเปรมปรีติ์ของพิธีบายศรีและการฮ้องขวัญ
จากแรงบันดาลใจในพิธีกรรมบายศรีทางภาคเหนือ โดยการ ฮ้องขวัญ การมัดมือ สู่การแสดงนาฏยนิพนธ์เชิงสร้างสรรค์ชุด บายศรีปู่จาขวัญ

Комментарии

Информация по комментариям в разработке