คนไทย ภาคอีสาน มีกี่ชาติพันธุ์ |Story of Guide

Описание к видео คนไทย ภาคอีสาน มีกี่ชาติพันธุ์ |Story of Guide

ภูมิภาคอีสาน เป็นดินแดนที่มีอาณาเขตกว้างขวาง มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับประเทศในกลุ่มประชาคมลุ่มน้ำโขง ประชากรในภูมิภาคนี้มีวัฒนธรรมที่หลากหลาย โดยมีกลุ่มวัฒนธรรมไท-ลาวเป็นหลักและกลุ่ม วัฒนธรรมย่อยที่แตกต่างตามสภาพท้องถิ่นฐานเดิม กลุ่มชาติพันธุ์ในภูมิภาคนี้จำแนกตามตระกูลภาษาได้ 2 ตระกูล คือ กลุ่มไต-กะได ที่ประกอบด้วยกลุ่มวัฒนธรรมไท-ลาว ไทโคราช และกลุ่มออสโตรเอเชียติค สาขามอญ-เขมร ที่ประกอบด้วยกลุ่มเขมรถิ่นไทย กูย บรู
#ประวัติศาสตร์ #ชาติพันธุ์ #อีสาน

⛳️🎪รับงานรีวิว สไตล์เล่าเรื่อง ไม่ว่าจะเป็น โรงแรม ร้านอาหาร ร้านคาเฟ่ต์ ร้านของที่ระลึก รวมถึงสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ
“ช่องทางติดต่อเพิ่มเติม”
ID line : guideaon
Tiktok : www.tiktok.com/@aon_tour
Facebook page : https://www.facebook.com/Storyofguide...
IG : https://instagram.com/aon.tour?igshid...

ขอขอบคุณภาพถ่ายและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 ถนนมิตรภาพ
ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น

ศิลปวัฒนธรรมไทย เรื่อง รู้จักกลุ่มชาติพันธุ์ในแอ่งสกลนคร ผู้ไท โส้ โย้ย กะเลิง เป็นใคร มาจากไหน?
ที่มา ศิลปวัฒนธรรม ฉบับมกราคม 2540 ผู้เขียน กองบรรณาธิการศิลปวัฒนธรรม
เผยแพร่ วันจันทร์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ.2566

จิตรกร โพธิ์งาม. (2536). โลกทัศน์ของซาวบรู บ้านเวิกบึก อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี. ปริญญานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ไทยคดีศึกษา), มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์ และอัครยา สังข์จันทร์. (2546). การสำรวจสถานภาพองค์ความรู้เบื้องต้นจากงานวิจัยเกี่ยวกับวิถีชีวิตทางสังคมและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคอีสาน พ.ศ. 2500-2545. มหาวิทยาลัยขอนแก่น, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.

นวรัตน์ บุญภิละ. (2559). อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ของชาวผู้ไท กรณีศึกษา บ้านนายูง ตำบลนายูง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี. วารสารพื้นถิ่นโขง ชี มูล, 2(2), 137-156.

ประตูสู่อีสาน. (2558). ชนเผ่าภูไท. ค้นจาก https://www.isangate.com/new/11-paoth...

สุริยา สมุทคุปติ์ และพัฒนา กิติอาษา. (2544). ยวนสีคิ้วในชุมชนทางชาติพันธุ์: เรื่องเล่าความทรงจำและอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยวนในจังหวัดนครราชสีมา. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม.

Damrongsakul, S. (2011). The role of traditional rituals in cultural maintenance and tourism in a Phu Tai village. Journal of Mekong Societies, 7(1), 73-98.

Keyes, C. F. (1979). Ethnic adaptation and identity: the Karen on the Thai frontier with Burma. Philadelphia: Institute for the Study of Human Issues.

Комментарии

Информация по комментариям в разработке