“การเมืองทมิฬ” ศึกแห่งอำนาจของสามอหังการแห่งการเมืองไทย

Описание к видео “การเมืองทมิฬ” ศึกแห่งอำนาจของสามอหังการแห่งการเมืองไทย

ยุคสมัยหนึ่งที่การเมืองไทยเข้าสู่สมัยแห่งการช่วงชิงความเป็นใหญ่กัน สมัยที่แบ่งขั้วอำนาจทางการเมืองออกเป็นสามกลุ่ม ขับเคี่ยวกันเพื่อเป็นที่ 1 ใครพลาดคือจบเห่อย่างเดียว และวันนี้เราจะมาพูดถึงเหตุการณ์นั้นครับ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหลังการรัฐประหาร 2490 - 25000 อันมีกลุ่มอำนาจทางการเมืองที่ยิ่งใหญ่คุมเชิงกันและกันเพื่อหวังกุมอำนาจไว้ ประกอบไปด้วย ทีมจอมพลป. ทีมจอมพลสฤษดิ์ และทีมพล.ต.อ.เผ่า ที่ต่างฝ่ายต่างมีทีเด็ดในการทำให้ดำรงไว้หรือได้มาซึ่งอำนาจหรือความเป็นใหญ่ จนถูกเรียกขานว่าเป็นยุคมืดหรือยุคทมิฬอีกช่วงเวลาหนึ่งเลยทีเดียว รายละเอียดจะเป็นอย่างไร ไปติดตามกันเลยครับ
---------------------------------------------------------------
*ข้อมูลอ้างอิง*

รายงานฉบับสมบูรณ์ ดุลยภาพทางการเมืองดุลยภาพทางสังคม โดย รองศาสตราจารย์ อาทร ฟุ้งธรรมสาร, รองศาสตราจารย์ จาง กงฉาง, รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต. วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า. ตุลาคม 2557.

บันทึกการทำงานของจอมพลป.พิบูลสงคราม ระหว่าง 2491-2499. พิมพ์แจกในวันอภิลักขิตสมัยคล้ายวันเกิดครบ 5 รอบ ของ ฯพณฯจอใพลป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี เมื่อ 14 กรกฎาคม 2500

พรภิรมณ์ เชียงกูล. (2535). ประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย เล่ม 1 . กรุงเทพ : โอเดียนสโตร์.

สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. (2550). แผนชิงชาติไทย: ว่าด้วยรัฐและการต่อต้านรัฐสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามครั้งที่สอง(พ.ศ.2491-2500). กรุงเทพฯ: 6 ตุลารําลึก.

คริสเบเกอร์ และผาสุก พงษ์ไพจิตร. (2557). ประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย. กรุงเทพ : มติชน.

ธงชัย วินิจกูล. (2556). ประชาธิปไตยที่มีกษัตริย์อยู่เหนือการเมือง. นนทบุรี : ฟ้าเดียวกัน.

ณัฐพล ใจจริง. การเมืองไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามภายใต้ระเบียบโลกของสหรัฐอเมริกา(พ.ศ.2491-2500). วิทยายิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552.

ทักษ์ เฉลิมเตียรณ. (2552). การเมืองระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ. กรุงเทพ : โครงการตำราฯ.

นรติ เศรษฐบุตร. (2543). กลุ่มซอยราชครูในการเมืองไทย. กรุงเทพ:ธรรมศาสตร์

พลเอก บัญชร ชวาลศิลป์. 2500 : สฤษดิ์-เผ่า เพื่อนรักหักเหลี่ยมโหด. กรุงเทพ:แสงดาว. 2563.

หนังสือ ประวัติและผลงานของฯพณฯ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต พิมพ์ใน อนุสรณ์ 50 ปี อสัญกรรม ฯพณฯ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนัตน์ (บรรณาธิการ). (2544) ปรีดีพนมยงค์และ 4 รัฐมนตรีอีสาน+1กับการเมืองไทย. กรุงเทพ:โครงการตำราฯ.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2549). ประวัติศาสตร์การเมืองไทย 2475-2500. กรุงเทพ : โครงการตำราฯ.

ประจวบ อัมพะเศวต. พลิกแผ่นดินประวัติการเมืองไทย มิถุนายน 2475 - 14 ตุลาคม 2516. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2543.

รัตพงษ์ สอนสุภาพ . (2539). ทุนขุนนางไทย (พ.ศ.2500-2516). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
-------------------------------------------------------------------

Комментарии

Информация по комментариям в разработке