จงฟังเถิดคลิปนี้มีประโยชน์มาก ธรรมะชั้นสูงจากพระธุดงค์ลึกลับ / ภาวะจิตตกศูนย์สู่การบรรลุธรรม

Описание к видео จงฟังเถิดคลิปนี้มีประโยชน์มาก ธรรมะชั้นสูงจากพระธุดงค์ลึกลับ / ภาวะจิตตกศูนย์สู่การบรรลุธรรม

การบรรลุธรรม ไม่ใช่เรื่องของสมอง ไม่ใช่เรื่องของการอ่านจำนึกคิด แต่เป็นเรื่องของจิต จิตของผู้บรรลุธรรมได้ จำต้องเข้าสู่ภาวะ “ตกศูนย์” หรือที่เรียกว่า “สุญตา” หรือในวิชชาธรรมกาย คือ เข้าสู่กลางในกลาง กายในกาย ไปเรื่อยๆ จนถึงที่สุดแห่งกายไม่มีกายอื่นละเอียดยิ่งกว่า คือ ธรรมกาย หากดูจิตแบบสติปัฏฐาน คือ จิตใจจิตที่ลึกที่สุด ในทางอรูปฌาน คือ ภาวะฌานสี่ นั่นคือ ภาวะจิตตกศูนย์ คือ เข้าสู่จิตเดิมแท้ คือ ความว่างเปล่า ความเป็น จิตพุทธะ ความไม่มีอะไรจะยึด ความไม่มีกิเลส ความไม่ต้องการโหยหา ซึ่งภาวะจิตตกศูนย์นี้มีอยู่บ่อยๆ ในชีวิตประจำวัน แต่เราก็ไม่ทันบรรลุธรรม เพราะ “ใจ” ไม่ได้พิจารณา “ไตรลักษณ์” ได้ทัน เราเรียกภาวะนี้ว่า “ตทังคนิพพาน” คือ ความว่างสิ้นไป สูญไปแห่งกิเลสชั่วคราว ไม่ได้ถาวรตลอดไป หรือที่ท่านพุทธทาสกล่าวว่า เราได้เคยลงไปอาบในพระนิพพานแล้วขึ้นมา แต่ไม่ทันได้ลงไปทั้งตัวนั่นแหละ ในเซน จะใช้โอกาสการทำงานในชีวิตประจำวัน คอยสังเกตเวลาจิตตกศูนย์ หรือภาวะสุญตา และใช้สติปัญญาพิจารณาไตรลักษณ์ในขณะนั้นทันที ก็จะ “บรรลุฉับพลัน” ได้เช่นกัน ซึ่งก็คือรอคอยจังหวะ “ตทังคนิพพาน” และ “ภาวะหลังออกจากฌานสี่สู่ฌานสาม” ก็ได้

ถ้าดูคลิปแล้วอย่าลืมกดติดตามเพื่อ ถ้ามีคลิปใหม่มาจะได้ดูได้ทันนะครับ
ขอบคุณสำหรับผู้ติดตาม กดติดตามช่อง #ปลดล็อค #ฟังธรรม ได้ที่ลิ้งนี้
   / @plodlockchannel  
----------------------------------------------------------------------
ขอเชิญร่วมสมทบทุนสร้างพระบรมธาตุพุทธวงศ์โพธิญาณ
เพื่อค่อมองค์เดิมซึ่งชำรุด สถานที่บ้านหนองตาโฮม ต.ขี้เหล็ก อ.อาจสามารถ จ.ร้อยเอ็ด โดยท่านสามารถโอนเงินเข้าบัญชีมูลนิธิพุทธภูมิโพธิยาลัย(ทิพย์บูรพา) ธนาคารกสิกรไทย ออมทรัพย์ บัญชีเลขที่ 0488201484 ท่านสามรถส่งหลักฐานการโอนเงินเพื่อขอรับใบอนุโมทนาบัตรได้ที่เพจ มูลนิธิพุทธภูมิโพธิยาลัย-ทิพย์บูรพา ตามลิ้งค์นี้ ติดต่อสอบถามผ่านเพจได้เลย   / bhuddhaphumi  

Buddhism is the world's fourth-largest religion with over 520 million followers, or over 7% of the global population, known as Buddhists. Buddhism encompasses a variety of traditions, beliefs and spiritual practices largely based on original teachings attributed to the Buddha and resulting interpreted philosophies. Buddhism originated in ancient India as a Sramana tradition sometime between the 6th and 4th centuries BCE, spreading through much of Asia. Two major extant branches of Buddhism are generally recognized by scholars: Theravada (Pali: "The School of the Elders") and Mahayana (Sanskrit: "The Great Vehicle").

Most Buddhist traditions share the goal of overcoming suffering and the cycle of death and rebirth, either by the attainment of Nirvana or through the path of Buddhahood. Buddhist schools vary in their interpretation of the path to liberation, the relative importance and canonicity assigned to the various Buddhist texts, and their specific teachings and practices.[9][10] Widely observed practices include taking refuge in the Buddha, the Dharma and the Sangha, observance of moral precepts, monasticism, meditation, and the cultivation of the Paramitas (virtues).

Theravada Buddhism has a widespread following in Sri Lanka and Southeast Asia such as Myanmar and Thailand. Mahayana, which includes the traditions of Pure Land, Zen, Nichiren Buddhism, Shingon and Tiantai (Tendai), is found throughout East Asia.

Vajrayana, a body of teachings attributed to Indian adepts, may be viewed as a separate branch or as an aspect of Mahayana Buddhism. Tibetan Buddhism, which preserves the Vajrayana teachings of eighth-century India, is practiced in the countries of the Himalayan region, Mongolia, and Kalmykia.

Комментарии

Информация по комментариям в разработке