"ฮอยตุง" ผลงานสร้างสรรค์ทางด้านนาฏยประดิษฐ์ 2567 มหาวิทยาลัยนเรศวร

Описание к видео "ฮอยตุง" ผลงานสร้างสรรค์ทางด้านนาฏยประดิษฐ์ 2567 มหาวิทยาลัยนเรศวร

“พหุวัฒนธรรมกับโลกร่วมสมัย”
ผลงานสร้างสรรค์ทางด้านนาฏยประดิษฐ์ ประจำปีการศึกษา 2567 โดยนิสิตชั้นปีที่ 4 สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ผลงานสร้างสรรค์ทางด้านนาฏยประดิษฐ์ ชุด "ฮอยตุง"
ผู้สร้างสรรค์ผลงาน
นางสาวธนัญญา จรบุรี
นางสาวธนาภา อินทะรังษี
นางสาวอุราวัลย์ วงศ์มยุราฉัตร
อาจารย์ที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ประภาศรี ศรีประดิษฐ์

แรงบันดาลใจ
ผู้สร้างสรรค์ได้รับแรงบันดาลใจมาจากความเชื่อเรื่องตุงของชาวไทลื้อที่เข้ามามีบทบาทในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย

แนวความคิด
นำเสนอวิวัฒนาการของการนำตุงมาใช้เป็นสัญลักษณ์แทนค่าสิ่งต่าง ๆ ได้แก่ ความเชื่อ ประเพณี และวิถีชีวิต

รูปแบบการแสดง
ผู้สร้างสรรค์ต้องการนำเสนอในรูปแบบนาฏศิลป์ภาคเหนือร่วมสมัย โดยแบ่งการแสดงออกเป็น 3 ช่วง ดังนี้
ช่วงที่ 1 พิธีกรรม ความเชื่อเรื่องผีในอดีต โดยนำตุงมาเป็นสื่อสัญลักษณ์แทนการติดต่อเชื่อมโยง
ช่วงที่ 2 ประเพณี รอยต่อจากอดีตความเชื่อเรื่องผี สู่พุทธศาสนาที่เข้ามามีบทบาทในประเพณีวัฒนธรรมของชาวล้านนา โดยนำตุงมาแทนค่าพุทธบูชา
ช่วงที่ 3 วิถีชีวิต การนำตุงมาใช้อย่างหลากหลายรูปแบบในวิถีชีวิตประจำวัน

เพลงประกอบการแสดง “ฮอยตุง”
ประพันธ์ทำนองเพลง
นายศุภกิจ วงศ์ช่าง

"Multiculturalism in the Contemporary World"
A Creative Performance Project in Dance Choreography for the Academic Year 2024, presented by 4th-year students from the Thai Dance Program, Department of Performing Arts, Faculty of Humanities, Naresuan University.

Creative Dance Performance: "Hoy Tung"
Creators
Miss Thananya Jonburi
Miss Thanapa Intarungsi
Miss Urawan Wongmayurachat
Advisor
Associate Professor Prapasri Sripradit

Inspiration
The creators drew inspiration from the beliefs surrounding the “Tung” flags of the Tai Lue people, a cultural group that plays a significant role in Thailand's upper northern region.

Concept
The performance explores the evolution of the Tung flags as symbols representing beliefs, traditions, and ways of life.

Performance Structure
This contemporary northern Thai dance is divided into three segments:
1. Rituals:
Depicts ancient beliefs about spirits, where the Tung flags serve as symbolic media for communication and connection with the spirit world.
2. Traditions:
Highlights the transition from animistic beliefs to the influence of Buddhism on the cultural practices of the Lanna people, with the Tung flags symbolizing Buddhist offerings.
3. Way of Life:
Illustrates the diverse applications of the Tung flags in everyday life.

Music for the Performance: "Hoy Tung"
Composer: Mr. Supakit Wongchang

Комментарии

Информация по комментариям в разработке