วิธีเช็คและติดตั้ง รีเลย์คอมเพรสเซอร์ แอร์รถยนต์ รีเลย์ 5 ขา รีเลย์ 4 ขา รีเลย์รถยนต์ รีเลย์ 12 V

Описание к видео วิธีเช็คและติดตั้ง รีเลย์คอมเพรสเซอร์ แอร์รถยนต์ รีเลย์ 5 ขา รีเลย์ 4 ขา รีเลย์รถยนต์ รีเลย์ 12 V

https://s.shopee.co.th/8pQr6CAXVH
https://s.shopee.co.th/7fEti1XFZ4
คอปเปอร์ เติมน้ำยาแอร์ R134a
https://s.shopee.co.th/1LKqAjMHWX
https://s.shopee.co.th/4Af1Xwxgaz
https://s.shopee.co.th/AKFetIMkDJ
https://s.shopee.co.th/AUZ55c8MxY
https://s.shopee.co.th/9KN7hUd0lZ
กระบอกเติมน้ำมันคอม
https://s.shopee.co.th/30T4A6GvKb
https://s.shopee.co.th/4VHrwsO0ah
https://s.shopee.co.th/4puiLaFusv
เกจ์น้ำยา
#ตู้แอร์ #แอร์รถไม่เย็น #รถแอร์ไม่เย็น #ทำไม่แอร์รถมีแต่ลม @134 หลักการทำงานของระบบแอร์รถยนต์  เป็นระบบทำความเย็นแบบอัดไอหรือก๊าซ โดยที่คอมเพรสเซอร์ (COMPRESSOR) จะทำหน้าที่ดูดสารทำความเย็นจากอีวาโปเรเตอร์ (EVAPORATOR) สารทำความเย็น ในขณะนั้นยังมีสถานะเป็นแก๊สและคอมเพรสเซอร์ ยังทำหน้าที่อัดสารทำความเย็นออกไปที่คอนเดนเซอร์ (CONDENSER) ทำให้สารทำความเย็นมีอุณหภูมิและความดันเพิ่มสูงขึ้น เมื่อสารทำความเย็นไหลผ่านคอนเดนเซอร์จะทำให้อุณหภูมิลดต่ำลง จากนั้นสารทำความเย็นจะไหลต่อไปยัง รีซีฟเวอร์/ดรายเออร์ (RECEIVER/DRYER) เพื่อกรองสิ่งสกปรกและความชื้นที่ปนเปื้อนในสารทำความเย็นไหลไปที่ แอ็คเพนชั่นวาล์ว (EXPANSION VALVE) แล้วฉีดเป็นฝอยละอองเข้าไปใน อีวาโปเรเตอร์ ทำให้สารทำความเย็นมีความดันที่ต่ำและดูดความร้อนจากภายนอก เพื่อให้ได้สถานะที่กลายเป็นแก๊ส ทำให้อุณหภูมิภายนอกลดลง หลังจากนั้นสารทำความเย็นที่เป็นแก๊ส ก็จะถูกดูดเข้าไปในคอมเพรสเซอร์ เพื่อเริ่มต้นการทำงานใหม่ วนซ้ำไปเรื่อยๆ
เชื่อว่าหลายๆท่านรู้จักและเคยใช้งานรีเลย์(relay) กันมาก่อน แต่ท่านทราบหรือไม่ว่า หลักการทำงานและอุปกรณ์ภายในนั้นมีหน้าตาอย่างไร…บทความนี้จะพาท่านมาทำความรู้จักกับข้อมูลและหลักการทำงานเบื้องต้นของรีเลย์(relay) ซึ่งเราคาดหวังว่าจะช่วยทำให้ท่านมีความเข้าใจมากยิ่งขึ้น
รีเลย์(relay) คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในวงจรควบคุมอัตโนมัติ ทำหน้าที่เปรียบเสมือนสวิตช์ไฟ ที่ใช้แรงดันไฟฟ้าในการเปิดและปิดอุปกรณ์ไฟฟ้าเพื่อควบคุมวงจรต่างๆ
รีเลย์จะทำงานโดยการป้อนกระแสไฟฟ้าให้กับขดลวด เพื่อเปลี่ยนแรงดันไฟฟ้าให้เป็นพลังงานแม่เหล็ก สำหรับใช้ดึงดูดหน้าสัมผัส(contact)ให้เปลี่ยนทิศทางการไหลของไฟฟ้า เพื่อควบคุมการจ่ายไฟให้กับอุปกรณ์ต่างๆคล้ายกับสวิตซ์
ขดลวด(coil) ทำหน้าที่รับแรงดันไฟฟ้าจากวงจรตัวควบคุมหรือ controller เพื่อเหนี่ยวนำกระแสไฟฟ้าให้เปลี่ยนเป็นพลังงานแม่เหล็กในการทำให้ดึงดูดหน้าสัมผัส(contact) ให้เปลี่ยนตำแหน่ง
2. หน้าสัมผัส(contact) ทำหน้าที่เหมือนสวิตช์ ที่กำหนด ทิศทางการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับอุปกรณ์ที่เราต้องการ

Комментарии

Информация по комментариям в разработке