บทสวดคัมภีร์มหาปัฏฐาน บทสวดหมอชีวกโกมารภัจจ์ บทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร

Описание к видео บทสวดคัมภีร์มหาปัฏฐาน บทสวดหมอชีวกโกมารภัจจ์ บทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร

บทสวดคัมภีร์มหาปัฏฐาน
มาติกานิเขปวาร
๑.เหตุปจฺจโย คือเหตุที่เป็นปัจจัย
๒.อารมฺมณปจฺจโย คือ ธรรมที่มีอารมณ์เป็นปัจจัย
๓.อธิปติปจฺจโย คือ เหตุแห่งการเป็นใหญ่" หรือ "การเป็นเหตุอุปการะ
๔.อนนฺตรปจฺจโย คือ เหตุที่ไม่มีระหว่าง" หรือ "เหตุที่ติดต่อกันทันที" ซึ่งหมายถึงการเป็นเหตุที่ทำให้สิ่งหนึ่งเกิดขึ้นทันทีโดยไม่มีสิ่งใดคั่นกลาง
๕.สมนนฺตรปจฺจโย คือปัจจัยที่เกิดขึ้นต่อเนื่องกันอย่างราบรื่นและเป็นระเบียบ
๖.สหชาตปจฺจโย สหชาตปัจจัย หมายถึงปัจจัยที่เกิดขึ้นพร้อมกันในเวลาเดียวกัน เช่น องค์ประกอบต่าง ๆ ของจิต เช่น เวทนา (ความรู้สึก), สัญญา (ความจำ), สังขาร (การปรุงแต่ง) และวิญญาณ (การรับรู้) ที่เกิดขึ้นพร้อมกันในขณะเดียวกัน สิ่งเหล่านี้ต่างสนับสนุนและอาศัยซึ่งกันและกันในการเกิดขึ้น
๗.อญฺญมญฺญปจฺจโย หมายถึงปัจจัยที่ต่างฝ่ายต่างเป็นเหตุให้กันและกันเกิดขึ้น เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างจิตและเจตสิก (องค์ประกอบทางจิต) ซึ่งต่างฝ่ายต่างสนับสนุนและมีผลต่อกัน เช่น จิตเป็นเหตุให้เจตสิกเกิดขึ้น และเจตสิกก็เป็นเหตุให้จิตดำเนินไปในทิศทางต่าง ๆ
๘.นิสฺสยปจฺจโย
๙.อุปนิสฺสยปจฺจโย
๑๐. ปุเรชาตปจฺจโย
๑๑. ปจฺฉาชาตปจฺจโย
๑๒.อาเสวนปจฺจโย
๑๓.กมฺมปจฺจโย คือธรรมที่มีกรรมเป็นปัจจัย
๑๔. วิปากปจฺจโย คือธรรมที่มีวิบาก ผลของกรรมเป็นปัจจัย
๑๕.อาหารปจฺจโย คือธรรมชาติที่มีอาหารเป็นปัจจัย
๑๖.อินฺทฺริยปจฺจโย
๑๗.ฌานปจฺจโย คือธรรมชาติที่มีฌานเป็นปัจจัย
๑๘.มคฺคปจฺโย
๑๙.สมฺปยุตฺตปจฺจโย
๒๐.วิปฺปยุตฺตปจฺจโย
๒๑.อตฺถิปจฺจโย
๒๒.นตฺถิปจฺจโย
๒๓.วิคตปจฺจโย
๒๔.อวิคตปจฺจโย

Комментарии

Информация по комментариям в разработке