การใช้งานตัวต้านทาน ดูคำอธิบายใต้คลิบ การเลือกใช้ชนิดตามประเภทวงจร ลักษณะกระแสไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้า

Описание к видео การใช้งานตัวต้านทาน ดูคำอธิบายใต้คลิบ การเลือกใช้ชนิดตามประเภทวงจร ลักษณะกระแสไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้า

สรุป ชนิดตัวต้านทาน / ความถี่ใช้งาน ข้อมูลตัวเลขความถี่จากเวป Analog Applications Engineer­–24
R ชนิดไวร์วาวด์ใช้ได้ไม่เกิน 50KHz เน้นใช้กับความถี่ต่ำ และ งาน Power เป็นหลัก
R ชนิดฟิล์มโลหะ ( Metal Film ) ใช้กับความถี่สูง ไม่เกิน ประมาณ 100 MHz
R ชนิดคาร์บอน ใช้กับความถี่ต่ำ ไม่เกิน 1 MHz
R ชนิดฟิล์มคาร์บอน ( Carbon Film ) ใช้กับความถี่ต่ำ ไม่มีตัวเลขความถี่ระบุ
แต่เส้นแถบฟิล์มคาร์บอนที่อยู่ด้านในก่อให้เกิดค่า L มากกว่าชนิดคาร์บอนเสียอีก ดังนั้นน่าจะใช้ได้กับความถี่ Hz KHz ค่อนมาทางต่ำ
ค่าโอห์มสูง ๆ ยิ่งมีค่า L สูงตามไปด้วยเนื่องจากมีเส้นแถบฟิล์มยาวกว่าและมีจำนวนเกลียวเยอะกว่าค่าโอห์มต่ำ
Note : ถ้าเน้นใช้งานความถี่สูง ควรเลือก R แบบ SMD เพื่อลดผลกระทบจากค่า L
การใช้งานตัวต้านทาน ตัวต้านทาน เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ คลิปนี้ เปรียบเทียบคุณสมบัติ ตัวต้านทานคาร์บอนฟิล์ม ตัวต้านทานเมตัลฟิล์ม ตัวต้านทานเมตัลออกไซด์ฟิล์ม ตัวต้านทานไวร์วาวด์ ตัวต้านทานวัดกระแส ( R sensor ) และตัวต้านทาน HV รวมถึงแนวทางหา ตัวต้านทานใช้แทนได้ไหม
#อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ #ตัวต้านทาน #อิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน #อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น #เรียนอิเล็กทรอนิกส์

Комментарии

Информация по комментариям в разработке