มันสำปะหลังต้านทานโรคใบด่าง สายพันธุ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Описание к видео มันสำปะหลังต้านทานโรคใบด่าง สายพันธุ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

โรคใบด่างมันสำปะหลังเป็นปัญหาหลักของเกษตรกรชาวมันสำปะหลัง ที่ส่งผลเสียหายอย่างหนัก หากไม่มีการจัดการที่ดี การเลือกท่อนพันธุ์ที่ได้คุณภาพ และการป้องกันโรคและแมลงหวี่ขาว จากการศึกษาทดสอบแปลงทดลองมากว่า 6 ปี ของ สกล ฉายศรี นักวิจัยจากสถานีวิจัยลพบุรี คณะเกษตร มหาวิทยาเกษตรศาสตร์ ได้พันธุ์มันสำปะหลังต้านทานโรคใบด่าง ซึ่งเป็นสายพันธุ์ไทย 100% ต้านทานโรคใบด่างได้ถึง 90% เหลือความเป็นโรคไม่เกิน 10 % ให้ผลผลิตหัวสดเฉลี่ย 5.2 ตันต่อไร่ มีปริมาณแป้งในหัวสดเฉลี่ย 30.6 เปอร์เซ็นต์ สอบถามได้ที่ อาจารย์สกล ฉายศรี สถานีวิจัยลพบุรี คณะเกษตร มหาวิทยาเกษตรศาสตร์ โทร.09-8368-2958 หรือ เพจ facebook มันสำปะหลังพันธุ์ทางเลือก

******************************
Mosaic-Disease-Resistible Cassava
Cassava Mosaic Disease must be a major problem for cassava farmers that causes severe damage if there is no good management, no choosing qualified stem, and no prevention of disease and whiteflies. From the study in experimental fields more than 6 years by Mr. Sakol Chaisri, a researcher from Lop-Buri Research Station, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, he can plant mosaic-disease-resistible cassavas which is 100% Thai variety and can resist mosaic disease up to 90% by leaving infected only just 10%. This variety can produce fresh root yields 5.2 tons per rai with the average starch percentage in fresh root of 30.6%. For further information, please contact Lop-Buri Research Station, Faculty of Agriculture, Kasetsart University. Tel. 09-8368-2958.

🌟 ผลงานวิจัย :
สกล ฉายศรี
สถานีวิจัยลพบุรี คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

🌟 ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ :
วนิดา รัตตมณี
วิทวัส ยุทธโกศา
วิโรตม์ เอี๊ยะตะกูล
ฝ่ายเผยแพร่งานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก.
โทร. 0-2579-6111

🌟ติดตามข่าวสารและความเคลื่อนไหวได้ที่..
Fanpage :   / kasetnumthaitv  
Youtube :    / kasetsartnamthai  
tiktok :   / kasetsartnamthai  

🌟แนะนำ/ติชม เกษตรศาสตร์นำไทยได้ที่..
https://forms.gle/pwCefd4uJcsvbqcZ9

Комментарии

Информация по комментариям в разработке